Mango Zero

5 วิธีดูแลผู้ป่วยสูงอายุอย่างไรให้มีสุขภาพดีทั้งกายและใจ

ไม่มีใครอยากป่วยแต่เมื่อป่วยแล้ว สิ่งที่เราทุกคนต้องการก็คือการดูแลเอาใจใส่ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องจิตใจ เรื่องสุขภาพให้กลับมาแข็งแรง ยิ่งเป็นผู้ป่วยที่เป็นผู้สูงแล้วยิ่งต้องดูแลให้ดีเป็นพิเศษ เพื่อให้ผู้สูงอายุได้กลับมาแข็งแรงสดใสเหมือนเดิม 

การดูแลคนผู้สูงอายุอาจจะไม่ใช่เรื่องไกลตัวเราอีกต่อไป วันนี้ยังไม่มีผู้สูงอายุให้ดูแล แต่วันข้างหน้าไม่แน่…เราเลยขอแนะนำวิธีการดูแลผู้ป่วยที่เป็นผู้สูงอายุเบื้องต้นมาฝาก

ดูแลสุขภาพจิตใจ

เรื่องสุขภาพใจของผู้ป่วยสูงอายุถือว่ามีความสำคัญเป็นอย่างยิ่ง เพราะถึงแม้ปัญหาด้านจิตใจจะไม่แสดงออกโดยตรง แต่ส่งผลเกี่ยวเนื่องกับสุขภาพของร่างกายของผู้ป่วย ยิ่งผู้สูงอายุท่านใดสุขภาพใจไม่แข็งแรง สุขภาพร่างกายก็จะแย่ลงด้วย ปัจจัยส่วนหนึ่งที่เป็นสาเหตุของสุขภาพปัญหาด้านจิตใจของผู้สูงอายุมักจะมีสาเหตุมาจาก ความรู้สึกเกี่ยวกับสมรรถนะทางร่างกายที่ลดลง, ความรู้สึกสูญเสีย, ความรู้สึกไม่เป็นที่ยอมรับหรือเป็นภาระ 

วิธีการดูแลสุขภาพจิตใจของผู้ป่วยสูงอายุ

ดูแลสุขภาพกาย

การดูแลสุขภาพกายก็เป็นอีกเรื่องที่เราควรใส่ใจ เพราะหากสุขภาพกายของผู้ป่วยสูงอายุไม่แข็งแรงก็ยิ่งทำให้โรคต่าง ๆ ทวีความรุนแรงมากขึ้น เพราะฉะนั้นแล้วการดูแลสุขภาพกายจึงถือเป็นการป้องกันและดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุที่ควรทำเป็นอย่างยิ่ง

วิธีการดูแลสุขภาพกายของผู้ป่วยสูงอายุ 

ดูแลความสะอาด

การดูแลความสะอาดหมายถึงการจัดการสภาพแวดล้อมที่ผู้ป่วยสูงอายุอาศัยอยู่ให้มีสภาพแวดล้อมที่ดี สะอาด ปลอดจากเชื้อโรคหรือความเสี่ยงที่จะทำให้เกิดโรคมากขึ้น และรวมถึงการดูแลความสะอาดของผู้ป่วยด้วย

วิธีการดูแลความสะอาดของผู้ป่วยสูงอายุ

ดูแลสมองและระบบประสาท

การดูแลสมองและระบบประสาทเป็นเรื่องสำคัญสำหรับผู้สูงอายุ ไม่ว่าจะเป็นทักษะการคิด ความจำ เพราะโรคที่ผู้สูงอายุเป็นโดยส่วนมากก็คือ โรคอัลไซเมอร์ ดังนั้นการดูแลสมองและระบบประสาทจึงเป็นเรื่องสำคัญ

วิธีการดูแลสมองและระบบประสาทของผู้ป่วยสูงอายุ

ดูแลเรื่องอาหาร

ไม่ว่าจะเป็นการดูแลร่างกาย จิตใจ สมองและความสะอาดแล้ว สิ่งที่ขาดไม่ได้สำหรับการดูแลผู้ป่วยสูงอายุก็คือการดูแลเรื่องอาหาร เพราะอาหารที่ดีจะช่วยให้ร่างกายแข็งแรง จิตใจแจ่มใส สุขภาพสมองดียิ่งขึ้น เพราะฉะนั้นแล้วการดูแลเรื่องอาหารจึงเป็นเรื่องสำคัญ

วิธีการดูแลเรื่องอาหารของผู้ป่วยสูงอายุ

ดูแลกันด้วยใจด้วย Smart Soup อาหารสำหรับผู้ป่วย

กรณีที่ผู้สูงอายุที่เราดูแลอยู่นั้นป่วย และไม่สามารถทานอาหารด้วยวิธีปกติได้ ต้องรับประทานอาหารทางสายให้อาหารเท่านั้น การเลือกอาหารที่เหมาะกับการกินด้วยวิธีนี้จึงต้องละเอียด และคำนึงถึงหลักโภชนาการเป็นหลักเพราะสารอาหารจำเป็นต่อผู้ป่วยในการทำให้ร่างกายแข็งแรง สำหรับอาหารของผู้ป่วยที่ต้องให้อาหารทางสายให้อาหารอย่างมีอยู่ 2 ประเภทคือ

การเตรียมอาหารเพื่อให้ผู้ป่วยบริโภคทางอาหารทางสายให้อาหารนั้นดูจะเป็นเรื่องยาก และต้องเตรียมตัวมากมาย อาจจะไม่สะดวกในการเตรียมพร้อม รวมถึงก็ไม่มั่นใจว่าอาหารที่เราเตรียมไว้นั้นมีคุณค่าทางอาหารเพียงพอไหม และสะอาดพอหรือเปล่า

แต่ถ้าเลือกใช้อาหารปั่นผสมสำเร็จรูป ‘Smart Soup’ อาหารสำหรับผู้ป่วยติดเตียงหรือผู้ป่วยที่ต้องให้ผู้ป่วยที่ต้องให้อาหารทางสายให้อาหาร ที่แค่ฉีกซองก็พร้อมรับประทานได้ทันทีหรือจะอุ่นให้ร้อนก็ทำได้โดย  เทซุปลงภาชนะที่สามารถเข้าไมโครเวฟแล้วอุ่นด้วยที่อุณภูมิ 90-100 องศาเซลเซียสในเวลา 4-6 นาที ใช้ความร้อนปลางกลาง 800 วัตต์ 1.00-1.30 นาที และใช้ความร้อนปานกลาง 1,300 วัตต์ 0.30-0.45 นาที  หรือจะต้มทั้งถุงในน้ำร้อนก็ได้

ประโยชน์ของซุปไก่ผสมฟักทองและไข่

แถมยังอุดมไปด้วยสารอาหารที่ครบถ้วนทั้ง

หาซื้อได้แล้วที่ Rama Health Shop, CP Freshmart, CP Food Shop (CP Tower สีลม ชั้นใต้ดิน), เซเว่น-อีเลฟแว่น สาขาในโรงพยาบาล นวศรีเนอสซิ่งโฮม และ 24Catolog.com  https://bit.ly/2QVgxaL

ที่มา – คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี